สถาบันไทยพัฒน์ จัดพิธีมอบรางวัลการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน หรือ Sustainability Disclosure ประจำปี 2564 มีองค์กรที่ได้รับรางวัลเกียรติคุณ (Award) 40 แห่ง ประกาศเกียรติคุณ (Recognition) 45 แห่ง และกิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) 20 แห่ง รวมทั้งสิ้น 105 รางวัล (อ่านต่อ)
• ข่าวประชาสัมพันธ์
• เกณฑ์การพิจารณารางวัลการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน ปี 2564
• ผลการประกาศรางวัลการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน ปี 2564
สถาบันไทยพัฒน์ เปิดผลสำรวจข้อมูลสถานภาพความยั่งยืนของ 826 กิจการ ในงาน “The State of Corporate Sustainability in 2021” พร้อมการเสวนา “ESG Metrics: ตัวชี้วัดธุรกิจวิถียั่งยืน” ให้แก่องค์กรสมาชิกประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน (อ่านต่อ)
• เปิดผลสำรวจ ESG ธุรกิจไทย ปี 64
• กำหนดการ
• เอกสารนำเสนอ ช่วง "ผลการสำรวจข้อมูลความยั่งยืนฯ ปี 2564"
• เอกสารนำเสนอ ช่วง "ESG Metrics: ตัวชี้วัดธุรกิจวิถียั่งยืน"
การประเมินลงทุนธีม "ESG" มีความสำคัญไฉน ?
เมื่อเจาะลึกลงไปถึงสาเหตุที่ผู้ลงทุนใช้ข้อมูลจากผู้ประเมิน ESG มากสุด เนื่องเพราะเป็นข้อมูลที่มีสาระสำคัญต่อการสร้างผลตอบแทนการลงทุน สามารถใช้เป็นข้อมูลเสริมเพิ่มเติมจากบทวิจัยอื่นในแง่ของผลการดำเนินงานและความเสี่ยงด้าน ESG ของกิจการ.. (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดงาน Thaipat Runners-up 2021 Online Forum ให้กับองค์กรธุรกิจที่สนใจยกระดับการพัฒนาการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนให้ทัดเทียมกับกลุ่มผู้นำแถวหน้า ภายใต้หัวข้อ Stepping from One Report to Global Report และ Updating Standards of Global Reporting (รายละเอียด)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Webinar ครั้งที่ 7 สำหรับองค์กรสมาชิกประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน หรือ Sustainability Disclosure Community (SDC) เพื่อส่งเสริมให้องค์กรสมาชิกได้รับความรู้และข้อมูลล่าสุดของมาตรฐานการรายงานสากล GRI Standards ในฉบับที่มีการปรับปรุงใหม่ ในหัวข้อ แนะนำมาตรฐาน GRI 103 General Disclosures (Update) เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2564 (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะหุ้นส่วนฝึกอบรมที่ได้รับการรับรองของ GRI จัดหลักสูตรอบรมการพัฒนากระบวนการจัดทำรายงานแห่งความยั่งยืนตามมาตรฐานการรายงานของ GRI หรือ GRI Standards Certified Training Course ให้แก่องค์กรธุรกิจและหน่วยงานที่สนใจ ในรูปแบบออนไลน์ เมื่อวันพุธ-พฤหัสที่ 10-11 พฤศจิกายน 2564 (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดกิจกรรม ESG-in-process Forum ผ่าน Webinar ครั้งที่สี่ สำหรับเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบริษัทจดทะเบียนต่อการเปิดเผยข้อมูล ESG ในกระบวนการ (In-process) ในหัวข้อ การจัดการด้านความยั่งยืนในมิติสังคม เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2564 (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ ประกาศรายชื่อ 24 หลักทรัพย์ที่น่าลงทุนกลุ่ม ESG Emerging ปี 2564 พร้อมเปิดเผยรายชื่อ 15 หลักทรัพย์ที่อยู่ในทำเนียบ ESG100 ต่อเนื่อง 7 ปีติดต่อกัน (2558-64) ในฐานะบริษัทจดทะเบียนที่มีการดำเนินงานโดดเด่นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG) เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับการลงทุนแบบยั่งยืนที่ทนทานต่อวิกฤตการณ์โควิด (อ่านต่อ)
• แปซิฟิกไพพ์
• โซนิค อินเตอร์เฟรท
• ไซมิส แอสเสท
• ซิก้า อินโนเวชั่น
• เอิร์ธ เท็ค เอนไวรอนเมนท์
• เอ็นอาร์ อินสแตนท์ โปรดิวซ์
• เอเชี่ยนซี คอร์ปอเรชั่น
• สโตนเฮ้นจ์ อินเตอร์
• โรงพยาบาลศิครินทร์
โควิด-19 พลิกโฉม CSR แบบถาวร
ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 นานเกือบสองปี ทำให้การดำเนินกิจกรรมซีเอสอาร์ตามแผนปกติประจำปีของทุกกิจการ จำต้องมีการปรับเปลี่ยนให้ตอบสนองต่อสถานการณ์ (อ่านต่อ)
ไทยพัฒน์ แจกคู่มือนำทางธุรกิจฝ่าโควิด
ใช้วัฒนธรรมสุขภาพเป็นแกนขับเคลื่อนกลยุทธ์องค์กร
สถาบันไทยพัฒน์ จัดทำหนังสือคู่มือนำทางสร้างองค์กรพร้อมผัน “Resilient Enterprise Guidebook” ฉบับพิมพ์ครั้งที่สอง ความหนา 58 หน้า แนวทางการปรับองค์กรให้มีภาวะพร้อมผัน (Resilience) ด้วยการนำข้อปฏิบัติทางธุรกิจด้านวัฒนธรรมสุขภาพ (Culture of Health Business Practices) มาเป็นปัจจัยนำเข้าสำหรับการจัดวางกลยุทธ์องค์กรให้รองรับการขับเคลื่อนธุรกิจวิถีปกติใหม่ และการเป็นองค์กรพร้อมผันในทุกสถานการณ์
• “ไทยพัฒน์” แจกคู่มือ นำทางธุรกิจฝ่าโควิด
• ไทยพัฒน์ ชี้ "Resilience" คีย์สำคัญนำทางธุรกิจฝ่าโควิด-19
• ไทยพัฒน์ แจกคู่มือนำทางธุรกิจฝ่าโควิด “Resilient Enterprise Guidebook”
โควิดมาใหม่ ธุรกิจจะไปทางไหน
ผลพวงจากสถานการณ์โควิดในประเทศไทย ที่กลับมาระบาดระลอกใหม่.. ยิ่งเป็นตัวเร่งเร้าให้ภาคธุรกิจ ต้องหันมาใช้เครื่องมือดิจิทัล เป็นช่องทางในการติดต่อ ทำธุรกรรม นำเสนอสินค้าและบริการ มากยิ่งขึ้นไปอีก.. (อ่านต่อ)
• "4 มิติ" ที่ธุรกิจต้องปรับตัว (ไปแล้ว)
• โควิด-19 พลิกโฉม ภาพ CSR แบบถาวร
• โฉมหน้าสำนักงานหลังโควิด
• 120 วัน ธุรกิจต้องเตรียมอะไร
• จะ ‘หยุด’ หรือ ‘อยู่’ กับโควิด
• สร้างภาวะพร้อมผันให้องค์กร
• ธุรกิจเตรียมรับแรงกระแทกใหญ่
• COVID Effect ยังอยู่ (ยาว)
↗ บทความก่อนหน้า
ในรอบปี 2563 เครือข่ายรอยเท้านิเวศโลก (Global Footprint Network) ได้บันทึกให้วันที่ 22 สิงหาคม 2563 เป็นวันที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินขีดจำกัดที่โลกสามารถฟื้นฟูหรือสร้างขึ้นใหม่ (Regenerate) หรือที่เรียกว่า วันเกินกำลังโลก (Earth Overshoot Day: EOD) ในมุมมองทางเศรษฐกิจ ถือว่า วันถัดจาก EOD สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์ใช้สอยจะมีมูลค่าติดลบหรือขาดดุลไปจนสิ้นสุดปี
ในปี 2564 หากประชากรโลกใช้ชีวิตในแบบที่ไทยเป็นอยู่ วันเกินกำลังโลก จะขยับขึ้นมาเป็นวันที่ 15 สิงหาคม 2564 หมายความว่า คนไทยมีการใช้ทรัพยากรเกินกำลังที่โลกจะรองรับได้ ในอัตราเร่งที่สูงกว่าประชากรโลก
ภาคธุรกิจที่ประกาศว่า จะดำเนินธุรกิจโดยนำแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) มาใช้ หรือการลดขยะและของเสียให้เป็นศูนย์ (Zero Waste) เพื่อให้ได้ชื่อว่าเป็นองค์กรคาร์บอนต่ำ หรือมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ (Carbon Neutral) นั้น ไม่เพียงพออีกต่อไป.. (อ่านต่อ)
• Natural Asset Companies (NAC) : บริษัทกู้โลก
สถาบันไทยพัฒน์ จัดงานแถลง “ทิศทาง CSR ปี 2564: Building Resilient Enterprise” และการเสวนาเรื่อง Post-COVID Strategies: From ‘Recovery’ to ‘Resilience’ ณ ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร สี่แยกปทุมวัน ถนนพระราม 1 (รายละเอียด)
• กำหนดการ
• ข่าวประชาสัมพันธ์
• เอกสารในช่วงการนำเสนอทิศทาง CSR ปี 2564
• เอกสารในช่วงเสวนา กลยุทธ์หลังโควิด: จาก ‘ฟื้นฟู’ สู่ ‘พร้อมผัน’
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
สถาบันไทยพัฒน์ ทำการประมวลทิศทางความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาความยั่งยืนของกิจการ ประจำปี 2564 ภายใต้รายงานที่มีชื่อว่า “6 ทิศทาง CSR ปี 2564: Building Resilient Enterprise” ความหนา 34 หน้า สำหรับหน่วยงานและองค์กรธุรกิจในการใช้เป็นข้อมูลเพื่อวางแนวทางการดำเนินงานในปี 2564 และใช้วางกลยุทธ์การปรับตัวสู่ภาวะปกติใหม่ (New Normal) หลังผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19
สถาบันไทยพัฒน์ จัดทำหนังสือบทบาทของภาคธุรกิจในช่วงการฟื้นตัวจากสถานการณ์โควิด-19 “Business Recovery Playbook on COVID-19” ความหนา 134 หน้า โดยรวบรวมกรณีตัวอย่างจากการดำเนินงานของภาคธุรกิจในช่วงการฟื้นตัวจากสถานการณ์โควิด-19 จำนวน 35 แห่ง ประมวลเป็นรูปแบบกิจกรรมใน 3 ด้าน สำหรับใช้เป็นแนวปฏิบัติสำหรับองค์กรในช่วงการฟื้นตัว (Recovery) จากสถานการณ์
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้น ช่วงต้นปี 2563 ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ต่อการดำรงชีวิตและการดำเนินธุรกิจ ผลกระทบของสถานการณ์โควิด มิได้ส่งผลเพียงเรื่องสุขภาพของผู้คนในสังคม แต่ยังได้ส่งแรงกระเพื่อมไปยังภาคเศรษฐกิจ ที่เป็นเรื่องปากท้อง กระทบวิถีทำมาหากินของผู้ประกอบการ ตั้งแต่รายใหญ่จนถึงรายย่อย ทั่วทุกหัวระแหง การระบาดระลอกใหม่ ที่กลับมาในช่วงท้ายปี 2563 ทอดยาวข้ามเข้าสู่ปี 2564 กลายเป็นสถานการณ์ที่ขวางกั้นการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่กำลังจะเริ่มคลี่คลาย.. (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะหน่วยงานที่มุ่งเน้นงานส่งเสริมความยั่งยืนของกิจการ และขับเคลื่อนเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการร่วมกับภาคเอกชนมาอย่างต่อเนื่อง ได้ทำการประมวลและจัดทำรายงานสถานภาพความยั่งยืนของกิจการ ปี 2563 หรือ “The State of Corporate Sustainability in 2020” จำแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลความยั่งยืนที่เปิดเผยโดยองค์กรสมาชิกประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน จำนวน 115 แห่ง (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดทำเอกสาร Investor Response Guidance on COVID-19 เผยแพร่ 7 แนวทางที่ผู้ลงทุนควรลงมือดำเนินการโดยทันที เพื่อดูแลจัดการประเด็น ESG ในระยะสั้น และปรับวางแนวการฟื้นตัวที่ให้ผลลัพธ์ทางสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ยั่งยืนในระยะยาว.. (อ่านต่อ)
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ลุกลามไปทุกทวีปทั่วโลก มีรายงานการพบผู้ติดเชื้ออย่างต่อเนื่องในหลายประเทศ และการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของจำนวนผู้ป่วยรวมถึงผู้เสียชีวิต ซึ่งบ่งชี้ถึงการแพร่กระจายของเชื้อในวงกว้าง.. (อ่านต่อ)
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
การแพร่ระบาดของไวรัส “โควิด-19” เป็นอีกบทพิสูจน์ความสามารถในการบริหารจัดการขององค์กร ว่าจะนำพาผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน อยู่รอดปลอดภัย และรักษาการเติบโตไว้ได้อย่างไร.. (อ่านต่อ)
• ‘ESG’ ในภาวะวิกฤต ‘โควิด-19’
• "COVID-19" กับปรากฏการณ์ 'ESG'
• ข่าวประชาสัมพันธ์
• เกณฑ์การพิจารณารางวัลการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน ปี 2564
• ผลการประกาศรางวัลการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน ปี 2564
สถาบันไทยพัฒน์ เปิดผลสำรวจข้อมูลสถานภาพความยั่งยืนของ 826 กิจการ ในงาน “The State of Corporate Sustainability in 2021” พร้อมการเสวนา “ESG Metrics: ตัวชี้วัดธุรกิจวิถียั่งยืน” ให้แก่องค์กรสมาชิกประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน (อ่านต่อ)
• เปิดผลสำรวจ ESG ธุรกิจไทย ปี 64
• กำหนดการ
• เอกสารนำเสนอ ช่วง "ผลการสำรวจข้อมูลความยั่งยืนฯ ปี 2564"
• เอกสารนำเสนอ ช่วง "ESG Metrics: ตัวชี้วัดธุรกิจวิถียั่งยืน"
การประเมินลงทุนธีม "ESG" มีความสำคัญไฉน ?
เมื่อเจาะลึกลงไปถึงสาเหตุที่ผู้ลงทุนใช้ข้อมูลจากผู้ประเมิน ESG มากสุด เนื่องเพราะเป็นข้อมูลที่มีสาระสำคัญต่อการสร้างผลตอบแทนการลงทุน สามารถใช้เป็นข้อมูลเสริมเพิ่มเติมจากบทวิจัยอื่นในแง่ของผลการดำเนินงานและความเสี่ยงด้าน ESG ของกิจการ.. (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดงาน Thaipat Runners-up 2021 Online Forum ให้กับองค์กรธุรกิจที่สนใจยกระดับการพัฒนาการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืนให้ทัดเทียมกับกลุ่มผู้นำแถวหน้า ภายใต้หัวข้อ Stepping from One Report to Global Report และ Updating Standards of Global Reporting (รายละเอียด)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Webinar ครั้งที่ 7 สำหรับองค์กรสมาชิกประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน หรือ Sustainability Disclosure Community (SDC) เพื่อส่งเสริมให้องค์กรสมาชิกได้รับความรู้และข้อมูลล่าสุดของมาตรฐานการรายงานสากล GRI Standards ในฉบับที่มีการปรับปรุงใหม่ ในหัวข้อ แนะนำมาตรฐาน GRI 103 General Disclosures (Update) เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2564 (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะหุ้นส่วนฝึกอบรมที่ได้รับการรับรองของ GRI จัดหลักสูตรอบรมการพัฒนากระบวนการจัดทำรายงานแห่งความยั่งยืนตามมาตรฐานการรายงานของ GRI หรือ GRI Standards Certified Training Course ให้แก่องค์กรธุรกิจและหน่วยงานที่สนใจ ในรูปแบบออนไลน์ เมื่อวันพุธ-พฤหัสที่ 10-11 พฤศจิกายน 2564 (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดกิจกรรม ESG-in-process Forum ผ่าน Webinar ครั้งที่สี่ สำหรับเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบริษัทจดทะเบียนต่อการเปิดเผยข้อมูล ESG ในกระบวนการ (In-process) ในหัวข้อ การจัดการด้านความยั่งยืนในมิติสังคม เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2564 (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ ประกาศรายชื่อ 24 หลักทรัพย์ที่น่าลงทุนกลุ่ม ESG Emerging ปี 2564 พร้อมเปิดเผยรายชื่อ 15 หลักทรัพย์ที่อยู่ในทำเนียบ ESG100 ต่อเนื่อง 7 ปีติดต่อกัน (2558-64) ในฐานะบริษัทจดทะเบียนที่มีการดำเนินงานโดดเด่นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG) เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับการลงทุนแบบยั่งยืนที่ทนทานต่อวิกฤตการณ์โควิด (อ่านต่อ)
• แปซิฟิกไพพ์
• โซนิค อินเตอร์เฟรท
• ไซมิส แอสเสท
• ซิก้า อินโนเวชั่น
• เอิร์ธ เท็ค เอนไวรอนเมนท์
• เอ็นอาร์ อินสแตนท์ โปรดิวซ์
• เอเชี่ยนซี คอร์ปอเรชั่น
• สโตนเฮ้นจ์ อินเตอร์
• โรงพยาบาลศิครินทร์
For ESG information in English, please visit: thaipat.esgrating.com |
'ESG100 Company ปี 2564'
สถาบันไทยพัฒน์ มอบประกาศนียบัตร “ESG100 Company ปี 2564” ให้แก่องค์กรที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในบริษัทกลุ่มหลักทรัพย์ ESG100 ที่มีการดำเนินงานโดดเด่นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental Social and Governance: ESG) จากการประเมินหลักทรัพย์จดทะเบียน ในปี พ.ศ.2564
• บีซีพีจี
• ทิสโก้
• เจริญโภคภัณฑ์อาหาร
• ผลิตภัณฑ์ตราเพชร
• ซีพี ออลล์
• ทานตะวันอุตสาหกรรม
• หาดทิพย์
• ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
• นอร์ทอีส รับเบอร์
• ซีฟโก้
• แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
• นำสินประกันภัย
• บีซีพีจี
• ทิสโก้
• เจริญโภคภัณฑ์อาหาร
• ผลิตภัณฑ์ตราเพชร
• ซีพี ออลล์
• ทานตะวันอุตสาหกรรม
• หาดทิพย์
• ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
• นอร์ทอีส รับเบอร์
• ซีฟโก้
• แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
• นำสินประกันภัย
โควิด-19 พลิกโฉม CSR แบบถาวร
• | กิจกรรม CSR เปลี่ยนโฉมหน้าสู่วิถีปกติใหม่ (New Normal) อย่างถาวร |
• | ผลสำรวจล่าสุด ปี 64 กิจการ 43 แห่ง พบ 3 ใน 4 มีแผนการผันตัว (Resilience) |
• | บิ๊กคอร์ป ริเริ่มนำการกำหนดแนวทาง “Herd CSR” มาใช้ภายในกลุ่มบริษัท |
ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 นานเกือบสองปี ทำให้การดำเนินกิจกรรมซีเอสอาร์ตามแผนปกติประจำปีของทุกกิจการ จำต้องมีการปรับเปลี่ยนให้ตอบสนองต่อสถานการณ์ (อ่านต่อ)
ไทยพัฒน์ แจกคู่มือนำทางธุรกิจฝ่าโควิด
ใช้วัฒนธรรมสุขภาพเป็นแกนขับเคลื่อนกลยุทธ์องค์กร
สถาบันไทยพัฒน์ จัดทำหนังสือคู่มือนำทางสร้างองค์กรพร้อมผัน “Resilient Enterprise Guidebook” ฉบับพิมพ์ครั้งที่สอง ความหนา 58 หน้า แนวทางการปรับองค์กรให้มีภาวะพร้อมผัน (Resilience) ด้วยการนำข้อปฏิบัติทางธุรกิจด้านวัฒนธรรมสุขภาพ (Culture of Health Business Practices) มาเป็นปัจจัยนำเข้าสำหรับการจัดวางกลยุทธ์องค์กรให้รองรับการขับเคลื่อนธุรกิจวิถีปกติใหม่ และการเป็นองค์กรพร้อมผันในทุกสถานการณ์
• “ไทยพัฒน์” แจกคู่มือ นำทางธุรกิจฝ่าโควิด
• ไทยพัฒน์ ชี้ "Resilience" คีย์สำคัญนำทางธุรกิจฝ่าโควิด-19
• ไทยพัฒน์ แจกคู่มือนำทางธุรกิจฝ่าโควิด “Resilient Enterprise Guidebook”
โควิดมาใหม่ ธุรกิจจะไปทางไหน
ผลพวงจากสถานการณ์โควิดในประเทศไทย ที่กลับมาระบาดระลอกใหม่.. ยิ่งเป็นตัวเร่งเร้าให้ภาคธุรกิจ ต้องหันมาใช้เครื่องมือดิจิทัล เป็นช่องทางในการติดต่อ ทำธุรกรรม นำเสนอสินค้าและบริการ มากยิ่งขึ้นไปอีก.. (อ่านต่อ)
• "4 มิติ" ที่ธุรกิจต้องปรับตัว (ไปแล้ว)
• โควิด-19 พลิกโฉม ภาพ CSR แบบถาวร
• โฉมหน้าสำนักงานหลังโควิด
• 120 วัน ธุรกิจต้องเตรียมอะไร
• จะ ‘หยุด’ หรือ ‘อยู่’ กับโควิด
• สร้างภาวะพร้อมผันให้องค์กร
• ธุรกิจเตรียมรับแรงกระแทกใหญ่
• COVID Effect ยังอยู่ (ยาว)
↗ บทความก่อนหน้า
ในรอบปี 2563 เครือข่ายรอยเท้านิเวศโลก (Global Footprint Network) ได้บันทึกให้วันที่ 22 สิงหาคม 2563 เป็นวันที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินขีดจำกัดที่โลกสามารถฟื้นฟูหรือสร้างขึ้นใหม่ (Regenerate) หรือที่เรียกว่า วันเกินกำลังโลก (Earth Overshoot Day: EOD) ในมุมมองทางเศรษฐกิจ ถือว่า วันถัดจาก EOD สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์ใช้สอยจะมีมูลค่าติดลบหรือขาดดุลไปจนสิ้นสุดปี
ในปี 2564 หากประชากรโลกใช้ชีวิตในแบบที่ไทยเป็นอยู่ วันเกินกำลังโลก จะขยับขึ้นมาเป็นวันที่ 15 สิงหาคม 2564 หมายความว่า คนไทยมีการใช้ทรัพยากรเกินกำลังที่โลกจะรองรับได้ ในอัตราเร่งที่สูงกว่าประชากรโลก
ภาคธุรกิจที่ประกาศว่า จะดำเนินธุรกิจโดยนำแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) มาใช้ หรือการลดขยะและของเสียให้เป็นศูนย์ (Zero Waste) เพื่อให้ได้ชื่อว่าเป็นองค์กรคาร์บอนต่ำ หรือมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ (Carbon Neutral) นั้น ไม่เพียงพออีกต่อไป.. (อ่านต่อ)
• Natural Asset Companies (NAC) : บริษัทกู้โลก
สถาบันไทยพัฒน์ จัดงานแถลง “ทิศทาง CSR ปี 2564: Building Resilient Enterprise” และการเสวนาเรื่อง Post-COVID Strategies: From ‘Recovery’ to ‘Resilience’ ณ ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร สี่แยกปทุมวัน ถนนพระราม 1 (รายละเอียด)
• กำหนดการ
• ข่าวประชาสัมพันธ์
• เอกสารในช่วงการนำเสนอทิศทาง CSR ปี 2564
• เอกสารในช่วงเสวนา กลยุทธ์หลังโควิด: จาก ‘ฟื้นฟู’ สู่ ‘พร้อมผัน’
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
• | 6 ทิศทาง CSR ปี 2564 (กรุงเทพธุรกิจ) |
• | ไทยพัฒน์ แถลงทิศทาง CSR ปี 64.. (ผู้จัดการออนไลน์) |
• | ไทยพัฒน์ เผย 6 ทิศทาง CSR ปี 2564 (SD Perspectives) |
• | 6 ทิศทาง CSR ปี’64 “ไทยพัฒน์” แนะสร้างองค์กรพร้อมผัน.. (ประชาชาติธุรกิจ) |
สถาบันไทยพัฒน์ ทำการประมวลทิศทางความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาความยั่งยืนของกิจการ ประจำปี 2564 ภายใต้รายงานที่มีชื่อว่า “6 ทิศทาง CSR ปี 2564: Building Resilient Enterprise” ความหนา 34 หน้า สำหรับหน่วยงานและองค์กรธุรกิจในการใช้เป็นข้อมูลเพื่อวางแนวทางการดำเนินงานในปี 2564 และใช้วางกลยุทธ์การปรับตัวสู่ภาวะปกติใหม่ (New Normal) หลังผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19
สถาบันไทยพัฒน์ จัดทำหนังสือบทบาทของภาคธุรกิจในช่วงการฟื้นตัวจากสถานการณ์โควิด-19 “Business Recovery Playbook on COVID-19” ความหนา 134 หน้า โดยรวบรวมกรณีตัวอย่างจากการดำเนินงานของภาคธุรกิจในช่วงการฟื้นตัวจากสถานการณ์โควิด-19 จำนวน 35 แห่ง ประมวลเป็นรูปแบบกิจกรรมใน 3 ด้าน สำหรับใช้เป็นแนวปฏิบัติสำหรับองค์กรในช่วงการฟื้นตัว (Recovery) จากสถานการณ์
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้น ช่วงต้นปี 2563 ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ต่อการดำรงชีวิตและการดำเนินธุรกิจ ผลกระทบของสถานการณ์โควิด มิได้ส่งผลเพียงเรื่องสุขภาพของผู้คนในสังคม แต่ยังได้ส่งแรงกระเพื่อมไปยังภาคเศรษฐกิจ ที่เป็นเรื่องปากท้อง กระทบวิถีทำมาหากินของผู้ประกอบการ ตั้งแต่รายใหญ่จนถึงรายย่อย ทั่วทุกหัวระแหง การระบาดระลอกใหม่ ที่กลับมาในช่วงท้ายปี 2563 ทอดยาวข้ามเข้าสู่ปี 2564 กลายเป็นสถานการณ์ที่ขวางกั้นการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่กำลังจะเริ่มคลี่คลาย.. (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะหน่วยงานที่มุ่งเน้นงานส่งเสริมความยั่งยืนของกิจการ และขับเคลื่อนเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการร่วมกับภาคเอกชนมาอย่างต่อเนื่อง ได้ทำการประมวลและจัดทำรายงานสถานภาพความยั่งยืนของกิจการ ปี 2563 หรือ “The State of Corporate Sustainability in 2020” จำแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลความยั่งยืนที่เปิดเผยโดยองค์กรสมาชิกประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน จำนวน 115 แห่ง (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ จัดทำเอกสาร Investor Response Guidance on COVID-19 เผยแพร่ 7 แนวทางที่ผู้ลงทุนควรลงมือดำเนินการโดยทันที เพื่อดูแลจัดการประเด็น ESG ในระยะสั้น และปรับวางแนวการฟื้นตัวที่ให้ผลลัพธ์ทางสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ยั่งยืนในระยะยาว.. (อ่านต่อ)
ข่าวประชาสัมพันธ์
• | ไทยพัฒน์ ชู 7 บทบาทผู้ลงทุนยุค COVID-19 |
• | เอกสาร Investor Response Guidance on COVID-19 |
• | เอกสาร Investor Stewardship Checklist on COVID-19 |
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
• | 7 แนวทางผู้ลงทุน รับมือสถานการณ์โควิด-19 (1) (จบ) (ประชาชาติธุรกิจ) |
• | Checklist 7 แนวทางรับมือของผู้ลงทุนต่อ.. COVID19 (SD Perspectives) |
• | 15 Checklists แนวปฏิบัติผู้ลงทุนในสถานการณ์โควิด (กรุงเทพธุรกิจ) |
• | ไทยพัฒน์ ชู 7 บทบาทผู้ลงทุนยุค COVID-19.. (สำนักข่าวไทยไทม์นิวส์) |
• | ไทยพัฒน์ ชู 7 บทบาทผู้ลงทุนยุค COVID-19 (กระแสหุ้นออนไลน์) |
• | ไทยพัฒน์ ชู 7 บทบาทผู้ลงทุนยุค COVID-19.. (MBA Magazine) |
• | 7 แนวทางรับมือของผู้ลงทุน.. (ผู้จัดการออนไลน์) |
• | 7 บทบาทผู้ลงทุนในยุคโควิดระบาด (กรุงเทพธุรกิจ) |
จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ลุกลามไปทุกทวีปทั่วโลก มีรายงานการพบผู้ติดเชื้ออย่างต่อเนื่องในหลายประเทศ และการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของจำนวนผู้ป่วยรวมถึงผู้เสียชีวิต ซึ่งบ่งชี้ถึงการแพร่กระจายของเชื้อในวงกว้าง.. (อ่านต่อ)
ข่าวประชาสัมพันธ์
• | ไทยพัฒน์ แนะธุรกิจรับมือ COVID-19 |
• | เอกสาร Business Response Guidance on COVID-19 |
• | เอกสาร Corporate Health Check Form on COVID-19 |
• | ตัวอย่างรายงานการตรวจสุขภาพองค์กรต่อการรับมือโรคโควิด 19 |
☑ บมจ. เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) | |
☑ บมจ. ซีลิค คอร์พ | |
☑ บมจ. เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น | |
ผลการตรวจสุขภาพองค์กรมี 3 ระดับ คือ ผ่าน (Passed) ดี (Good) และดีเยี่ยม (Excellent) |
ข่าวและบทความที่เกี่ยวข้อง
• | 15 แนวทางรับมือ COVID-19 สำหรับภาคธุรกิจ (Thai PBS) |
• | ส่อง 15 เช็คลิสต์ ธุรกิจ รับมือ COVID-19 (กรุงเทพธุรกิจ) |
• | ไทยพัฒน์ สู้โควิด-19 มอบเอกสาร.. รับมือไวรัสร้าย (ประชาชาติธุรกิจ) |
• | 15 Checklists ของธุรกิจเพื่อเตรียมรับมือโควิด-19 (Smart SME) |
• | ไทยพัฒน์ แนะธุรกิจรับมือ COVID-19 (สยามรัฐออนไลน์) |
• | Checklist สิ่งที่องค์กรธุรกิจดำเนินการ.. ในช่วง COVID19 (SD Perspectives) |
• | ไทยพัฒน์ แนะธุรกิจรับมือ COVID-19 (ผู้จัดการออนไลน์) |
การแพร่ระบาดของไวรัส “โควิด-19” เป็นอีกบทพิสูจน์ความสามารถในการบริหารจัดการขององค์กร ว่าจะนำพาผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน อยู่รอดปลอดภัย และรักษาการเติบโตไว้ได้อย่างไร.. (อ่านต่อ)
• ‘ESG’ ในภาวะวิกฤต ‘โควิด-19’
• "COVID-19" กับปรากฏการณ์ 'ESG'
No comments:
Post a Comment