ปีก่อนหน้า | ปี66 | ปีปัจจุบัน |
สถาบันไทยพัฒน์ จัดงานประกาศ "รางวัลการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน" Sustainability Disclosure Award ประจำปี 2566 ให้กับองค์กรสมาชิกประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน (SDC) จำนวน 132 รางวัล (อ่านต่อ)
• ไทยพัฒน์ มอบ 132 รางวัลการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน
สถาบันไทยพัฒน์ เปิดผลสำรวจข้อมูลสถานภาพความยั่งยืนของ 904 กิจการ ในงาน “The State of Corporate Sustainability in 2023” พร้อมการเสวนา “Double Materiality : The Financial + Impact Disclosure” ให้แก่องค์กรสมาชิกประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน (อ่านต่อ)
• ข่าวประชาสัมพันธ์
• กำหนดการ
• เปิดผลสำรวจ ESG ธุรกิจไทย ปี 2566
• เอกสารนำเสนอ ช่วง "ผลการสำรวจข้อมูลความยั่งยืนฯ ปี 2566"
• เอกสารนำเสนอ ช่วง "The State of Corporate Sustainability in 2023"
สถาบันไทยพัฒน์ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Webinar ครั้งที่ 5 สำหรับองค์กรสมาชิกประชาคมการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน หรือ Sustainability Disclosure Community (SDC) เพื่อส่งเสริมให้องค์กรสมาชิกได้รับความรู้และข้อมูลล่าสุดของมาตรฐานการรายงานสากล GRI Standards ในหัวข้อ ESRS-GRI Mapping เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2566 (อ่านต่อ)
สถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะ Certified Training Partner ของ GRI ในประเทศไทย จัดอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพด้านความยั่งยืน ในรายวิชา GRI Standards Certified Training Course (ระยะเวลา 2 วัน) เมื่อวันอังคารและพุธที่ 28-29 พฤศจิกายน 2566 (ข้อมูลเพิ่มเติม)
• มาตรฐาน GRI กับความเข้าใจผิดเรื่องความยั่งยืน
• ไทยติดกลุ่มประเทศที่มีการเปิดเผยรายงานความยั่งยืนสูงสุด
สถาบันไทยพัฒน์ จัดให้มีงาน Thaipat Runners-up 2023 Online Forum ในหัวข้อ SDG Impact Disclosure แนวทางสำหรับรายงานการขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อความยั่งยืนที่ตอบสนองต่อเป้าหมาย SDGs ในระดับตัวชี้วัด เพื่อประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนงานด้านความยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียน ในรูปแบบ Webinar (รายละเอียด)
• เอกสารนำเสนอ: Thaipat Runners-up Presentation
• ชมคลิปย้อนหลัง: Webinar: SDG Impact Disclosure
• ชุดเอกสาร: GCI for Sustainability and SDG Impact Reporting
"Guidance on Core Indicators for Sustainability and SDG Impact Reporting" ความหนา 56 หน้า ฉบับปรับปรุง (ค.ศ.2022) จัดทำโดยคณะทำงานผู้ทรงคุณวุฒิระหว่างรัฐบาลด้านมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการบัญชีและการรายงาน (ISAR) สำหรับใช้เป็นเอกสารชี้แนะแนวทางในการรายงานผลการดำเนินงานของกิจการ ด้วยตัวชี้วัดที่แสดงถึงการมีส่วนในการตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) ที่เหมาะสมสำหรับองค์กรธุรกิจ (อ่านต่อ) |
สถาบันไทยพัฒน์ ทำการประเมินบริษัทจดทะเบียนที่มีการดำเนินงานโดดเด่นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance) ติดอันดับ ESG100 ปี 66 และประกาศรายชื่อหลักทรัพย์กลุ่ม ESG Emerging เป็นปีที่สี่ พร้อมเปิดเผยรายชื่อหลักทรัพย์ที่มีผลประกอบการพลิกฟื้นกลุ่ม ESG Turnaround เป็นปีแรก เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับการลงทุนที่คำนึงถึงประเด็น ESG และสามารถสร้างโอกาสการได้รับผลตอบแทนที่ไม่ด้อยกว่าการลงทุนในแบบทั่วไป (อ่านต่อ)
'ESG100 Company ปี 2566'
สถาบันไทยพัฒน์ มอบประกาศนียบัตร “ESG100 Company ปี 2566” ให้แก่องค์กรที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในบริษัทกลุ่มหลักทรัพย์ ESG100 ที่มีการดำเนินงานโดดเด่นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental Social and Governance: ESG) จากการประเมินหลักทรัพย์จดทะเบียน ในปี พ.ศ.2566
• เจริญโภคภัณฑ์อาหาร
• เอเชี่ยนซี คอร์ปอเรชั่น
• ซีพี ออลล์
• บีซีพีจี
• หาดทิพย์
• น้ำมันพืชไทย
• เพรซิเดนท์ เบเกอรี่
• ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า WHART
• ทานตะวันอุตสาหกรรม
• เอิร์ธ เท็ค เอนไวรอนเมนท์
• ซีลิค คอร์พ
• ผลิตภัณฑ์ตราเพชร
• ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
• โซนิค อินเตอร์เฟรท
• ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ
• บริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์
• นอร์ทอีส รับเบอร์
• อลิอันซ์ อยุธยา แคปปิตอล
• ศิครินทร์
• ซีเค พาวเวอร์
• ทีพีไอ โพลีน
• ทีพีไอ โพลีน เพาเวอร์
• บางกอก เชน ฮอสปิทอล
• แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
• ไซมิส แอสเสท
• เจริญโภคภัณฑ์อาหาร
• เอเชี่ยนซี คอร์ปอเรชั่น
• ซีพี ออลล์
• บีซีพีจี
• หาดทิพย์
• น้ำมันพืชไทย
• เพรซิเดนท์ เบเกอรี่
• ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า WHART
• ทานตะวันอุตสาหกรรม
• เอิร์ธ เท็ค เอนไวรอนเมนท์
• ซีลิค คอร์พ
• ผลิตภัณฑ์ตราเพชร
• ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
• โซนิค อินเตอร์เฟรท
• ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ
• บริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์
• นอร์ทอีส รับเบอร์
• อลิอันซ์ อยุธยา แคปปิตอล
• ศิครินทร์
• ซีเค พาวเวอร์
• ทีพีไอ โพลีน
• ทีพีไอ โพลีน เพาเวอร์
• บางกอก เชน ฮอสปิทอล
• แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป
• ไซมิส แอสเสท
หน่วยงาน AccountAbility องค์กรผู้กำหนดมาตรฐานและให้คำปรึกษาด้าน ESG (Environmental, Social and Governance) ระดับโลก ที่ก่อตั้งมากว่า 30 ปี ได้ออกรายงานที่มีชื่อว่า “7 Sustainability Trends 2023 Report” โดยเนื้อหาสะท้อนให้เห็นภูมิทัศน์ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG) ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และการประมวลแนวโน้มที่สำคัญด้าน ESG ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดวาระทางธุรกิจนับจากนี้ไป
สถาบันไทยพัฒน์ จัดตั้ง ESG Sandbox เพื่อใช้เป็นแพลตฟอร์มทำงานร่วมกับภาคเอกชน ในการสร้างระบบนิเวศแห่งความยั่งยืน (Ecosystem of Sustainability) ด้วยการพัฒนาโครงการด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG) ซึ่งมีแนวโน้มที่ก่อให้เกิดความพลิกผัน (Disruption) ด้านความยั่งยืนในอนาคต (รายละเอียด)
สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดงานแถลง ทิศทาง CSR ปี 2566: LEAN • CLEAN • GREEN และการเสวนาเรื่อง ESG Footprint: The Supplier Journey ณ ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร สี่แยกปทุมวัน ถนนพระราม 1 (รายละเอียด)
• กำหนดการ
• ข่าวประชาสัมพันธ์
• เอกสารในช่วงการนำเสนอทิศทาง CSR ปี 2566
• เอกสารในช่วงเสวนา ESG Footprint: The Supplier Journey
► สนทนา ทิศทางความยั่งยืน ปี 2566 ทาง สวท. FM 92.5 MHz
► อธิบาย เนื้อหาทิศทางความยั่งยืน ปี 2566 พร้อมสคริปต์
สถาบันไทยพัฒน์ ทำการประมวลทิศทางความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาความยั่งยืนของกิจการ ประจำปี 2566 ภายใต้รายงานที่มีชื่อว่า 6 ทิศทาง CSR ปี 2566: LEAN • CLEAN • GREEN’ ความหนา 28 หน้า สำหรับหน่วยงานและองค์กรธุรกิจสามารถนำไปเป็นปัจจัยนำเข้า และใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนากลยุทธ์การดำเนินงานด้านความยั่งยืน โดยมี ESG เป็นกรอบในการขับเคลื่อนตามบริบทที่เหมาะสมของแต่ละกิจการให้มีความครอบคลุมอย่างรอบด้าน
3 ธีม ขับเคลื่อน ESG ประเทศไทย ปี 2566 ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) ได้ถูกยกระดับความสำคัญขึ้นอย่างมาก จนเป็นเงื่อนไขหลักสำหรับการดำเนินธุรกิจ และได้กลายมาเป็นคำที่ใช้กันสามัญในปัจจุบัน โดยในปี 2566 สถาบันไทยพัฒน์ ได้ประมวลแนวโน้มการขับเคลื่อน ESG ของภาคธุรกิจไทย ไว้เป็น 3 ธีม ได้แก่ LEAN รับมือเศรษฐกิจโลกถดถอย CLEAN เพื่อสังคมที่มีสุขภาวะ และ GREEN ที่มากกว่าคำมั่นสัญญา (อ่านต่อ)
• จะขับเคลื่อน ESG แบบ ‘ห่วงเรา’ หรือ ‘ห่วงโลก’
สถาบันไทยพัฒน์ ได้ทำการสำรวจข้อมูลสถานภาพความยั่งยืนของกิจการ ประจำปี 2565 จัดทำเป็นรายงานชื่อว่า “The State of Corporate Sustainability in 2022" เพื่อนำเสนอทิศทางและกระแสนิยมของการเปิดเผยข้อมูล ESG ขององค์กร รวมถึงการวิเคราะห์สถานภาพการพัฒนาความยั่งยืนของกิจการ โดยสำรวจจากองค์กรที่มีการเปิดเผยข้อมูลความยั่งยืน ทั้งสิ้น 854 ราย (อ่านต่อ)
• เปิดผลสำรวจ ESG ธุรกิจไทย ปี 65
No comments:
Post a Comment